วันอังคารที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่2 วันที่13 ธันวาคม 2554

นาฟิกา > เวลา ชั้วโมง นาที วินาที
ลำดับ > การเปรียบเทียบถึงจะจัดลำดับได้
คณิตศาสตร์ ในอนุบาลต่างจากประถม ?
อนุบาลเรียนรู้แบบ รูปธรรม
ประถมเรียนรู้แบบ นามประธรรม
อนุบาลเรียนรู้จากของจริง ของจำลอง ภาพ ลัญญาลักษณ์
พัฒนาการณ์> ด้านสติปัญญา (พัฒนาการณ์ >เชื่อมโยงกับอายุ , >การเปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้น)
สมอง > การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 สร้างเส้นใยในสมองเพื่อรับรู้ใส่ในสมอง การเรียนรู้ปรับเป็นความรู้ใหม่แรกเกิด - 2 ปีรับรู้
2-4ปี เด็กเริ่มใช้คำศัพท์มากขึ้น แต่ สั่นๆ
4-6ปี เริ่มเป็นประโยคมีคำขยายเริ่มใช้ภาษายาวขึ้น เริ่มใช้เหตุผลแต่ไม่ครบ 100เปอร์เซ็น
การเรียนการสอน > รูปธรรม ภาพ รูปของจำลอง ตัวเลขไม่เกิน10
*คณิตศาสตร์ เป็นการทำงานของสมอง เปรียบเสมือนเครื่องมือ ในการดำรงชีวิต
*จัดการเรียนการสอนให้เด็กได้ลงมือกระทำผ่านการเล่น,จัดตามมุม
*คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันของเด็ก
-เวลาสัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน -การมาเรียน เช้า สาย
-การยืนเข้าแถวเรียงลำดับ       -การตรวจสุขภาพ น้ำหนัก,ส่วนสูง
-จับกลุ่มทำกิจกรรม                - การเทนม ปริมาณ จำนวน
-การออกกำลังการเป็นชุด 
มาตรฐาน>ประเมินคุณภาพ ( วัด เกณฑ์ และ ประเมิน )
-เกณฑ์มาตรฐานทางคณิตศาสตร์
การจัดประสบการณ์
1.สัญญาลักษ์
2.เปรียบเทียบ
3.การนับปากเปล่า
4.ปริมาตร
5.รูปทรง คุณสมบัติของ สี่เหลี่ยม มุมสี่มุม
6.น้ำหนัก
7.ระยะทาง,เวลา
8.จำแนก
9.รู้จักตัวเลขสัมพัธ์กัน
10.การนับ
บรรยากาศ : เป็นไปอย่างปกติ ไม่มีความวุ่นวาย สงบ ทุกคนตั้งใจฟังและจดบันทึก

ข้อความรู้ : ได้ความรู้เพิ่มขึ้นมาก เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันของเด็ก

ข้อเสนอที่จะใช้ในวิชาชีพ : สามารถใช้จัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น